พายุดีเปรสชันเขตร้อน ของ ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2556

รายการพายุหมุนเขตร้อนที่มีความรุนแรงสูงสุดเป็นเพียงพายุดีเปรสชัน โดยอาจเป็นพายุที่มีรหัสเรียกตามหลังด้วยตัวอักษร W โดยศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม หรืออาจได้รับชื่อท้องถิ่นจากสำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์ (PAGASA) แต่ไม่ถูกตั้งชื่อตามเกณฑ์ของกรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น (JMA) ซึ่งหน่วยงานดังกล่าวระบุเพียงแต่คำว่า TD (Tropical Depression) หรือพายุดีเปรสชันเท่านั้น

พายุดีเปรสชันเขตร้อนบีซิง

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
พายุดีเปรสชัน (TMD)
ระยะเวลา6 – 13 มกราคม
ความรุนแรง55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
1002 mbar (hPa; 29.59 inHg)
  • วันที่ 4 มกราคม มีบริเวณการหมุนเวียนลมก่อตัวขึ้นทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของปาเลา โดย JTWC ได้เรียกว่าหย่อมความกดอากาศต่ำกำลังแรง 94W
  • วันที่ 5 มกราคม ไม่ช้าระบบก็เคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกอย่างรวดเร็วและเข้าไปในพื้นที่รับผิดชอบของฟิลิปปินส์
  • วันที่ 6 มกราคม JMA ได้ประกาศทวีความรุนแรงระบบเป็นดีเปรสชันเขตร้อน
  • วันที่ 7 มกราคม JMA ได้ประกาศลดความรุนแรงระบบเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำดังเดิม[122]
  • วันที่ 8 มกราคม ระบบเดียวที่อ่อนกำลังลงได้ทวีกำลังแรงอีกครั้ง โดย JMA ได้ประกาศทวีความรุนแรงระบบเป็นดีเปรสชันเขตร้อนอีกครั้ง แบบจำลองแบบไดนามิกต่างๆระบุว่าดีเปรสชันนี้จะเข้าโจมตีฟิลิปปินส์[123]
  • วันที่ 11 มกราคม PAGASA ได้ประกาศทวีความรุนแรงของระบบเป็นพายุดีเปรสชันเขตร้อนและใช้ชื่อ "บีซิง (Bising)"
  • วันที่ 13 มกราคม PAGASA ไดปรับลดความรุนแรงของบีซิงเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำ

สภาพอากาศมีฝนตกปานกลางถึงหนักในพื้นที่ภาคบีคอล,วิซายาตะวันออก,วิซายากลางและมินดาเนา

พายุดีเปรสชันเขตร้อนลูกที่ 4

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
ระยะเวลา20 – 22 มีนาคม
ความรุนแรง<55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
1006 mbar (hPa; 29.71 inHg)
  • 20 มีนาคม สำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น ประกาศว่ามีพายุดีเปรสชันเขตร้อนก่อตัวขึ้นทางตะวันออกของดาเวา, ฟิลิปปินส์ ที่ระยะห่าง 324 กิโลเมตร
  • 22 มีนาคม ระบบสลายตัวไป

พายุดีเปรสชันเขตร้อนลูกที่ 12

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
พายุดีเปรสชัน (TMD)
ระยะเวลา18 – 20 กรกฎาคม
ความรุนแรง55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
1000 mbar (hPa; 29.53 inHg)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนลูกที่ 16

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
ระยะเวลา10 – 12 สิงหาคม
ความรุนแรง<55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
1002 mbar (hPa; 29.59 inHg)
  • วันที่ 10 สิงหาคม ดีเปรสชันเขตร้อนก่อตัวทางตะวันออกของเวียดนาม ในทะเลจีนใต้

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 13W

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
พายุดีเปรสชัน (TMD)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา15 – 19 สิงหาคม
ความรุนแรง55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
996 mbar (hPa; 29.41 inHg)
  • วันที่ 16 สิงหาคม สำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น (JMA) รายงานว่าพบพายุดีเปรสชันเขตร้อนอยู่บริเวณ 1,275 กม. (790 ไมล์) ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของไทเป, ไต้หวัน[124]
  • วันที่ 18 สิงหาคมระบบได้พัฒนาเป็นพายุดีเปรสชันเขตร้อนและมีปฏิกิริยากับพายุโซนร้อนจ่ามี ต่อมาระบบได้ขึ้นฝั่งทางตะวันออกประเทศจีน และได้กระจายหายไป[125]

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 03C

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา21 สิงหาคม (เข้ามาในแอ่ง)
ความรุนแรง<55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
1008 mbar (hPa; 29.77 inHg)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนลูกที่ 23

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
ระยะเวลา27 – 29 สิงหาคม
ความรุนแรง<55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
1002 mbar (hPa; 29.59 inHg)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนลูกที่ 24

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
ระยะเวลา28 – 31 สิงหาคม
ความรุนแรง<55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
1008 mbar (hPa; 29.77 inHg)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนลูกที่ 28

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
ระยะเวลา6 – 7 กันยายน
ความรุนแรง<55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
1012 mbar (hPa; 29.88 inHg)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 18W

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
พายุดีเปรสชัน (TMD)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา15 – 21 กันยายน
ความรุนแรง55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
996 mbar (hPa; 29.41 inHg)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนลูกที่ 33

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
ระยะเวลา23 กันยายน
ความรุนแรง<55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
1012 mbar (hPa; 29.88 inHg)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนลูกที่ 38

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
ระยะเวลา3 – 8 ตุลาคม
ความรุนแรง<55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
1006 mbar (hPa; 29.71 inHg)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนไพลิน

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
พายุดีเปรสชัน (TMD)
ระยะเวลา4 – 7 ตุลาคม (ออกนอกแอ่ง)
ความรุนแรง<55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
1004 mbar (hPa; 29.65 inHg)
  • วันที่ 4 ตุลาคม หย่อมความกดอากาศต่ำในอ่าวไทยทวีกำลังขึ้นเป็นดีเปรสชันเขตร้อน จากนั้นอีกสองวันได้อ่อนกำลังลงเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำอีกครั้ง[126]
  • วันที่ 6 ตุลาคม ระบบกลับคืนเป็นดีเปรสชันเขตร้อนตามเดิม บริเวณนอกชายฝั่งพม่า
  • วันที่ 9 ตุลาคม กรมอุตุนิยมวิทยาอินเดีย (IMD) ได้ออกประกาศเพิ่มความรุนแรงเป็นพายุดีเปรสชันหมุนเร็ว โดยใช้รหัสเรียกขาน BOB 04[127]

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 27W

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
พายุดีเปรสชัน (TMD)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา17 – 22 ตุลาคม
ความรุนแรง55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
1002 mbar (hPa; 29.59 inHg)
  • วันที่ 17 ตุลาคม ดีเปรสชันเขตร้อนก่อตัวขึ้นทางบริเวณทิศตะวันออกเฉียงเหนือเยื้องเหนือของกวม
  • วันที่ 18 ตุลาคม พายุรับรหัสเรียกขานว่า 27W

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 30W (วิลมา)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
พายุดีเปรสชัน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา2 – 7 พฤศจิกายน (ออกนอกแอ่ง)
ความรุนแรง55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
1004 mbar (hPa; 29.65 inHg)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 33W

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา3 ธันวาคม
ความรุนแรง<55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
1006 mbar (hPa; 29.71 inHg)

พายุอื่น ๆ

  • วันที่ 11 เมษายน เวลา 1800UTC (02 นาฬิกาของวันที่ 12 ตามเวลาในประเทศไทย) สำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น (JMA) เริ่มตรวจสอบการเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกของพายุดีเปรสชันเขตร้อนในอ่าวไทย ในเวลานั้น ดีเปรสชันเขตร้อนมีความกดอากาศต่ำสุด ณ ศูนย์กลางที่ 1008 มิลลิบาร์ (hPa; 27.77 นิ้วปรอท) แต่พายุมีความเคลื่อนไหวอยู่ได้ไม่นานก็อ่อนกำลังลง JMA จึงไม่ได้ออกประกาศอะไรเพิ่มเติมสำหรับดีเปรสชันนั้น[128]

ใกล้เคียง

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2565 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2564 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2560 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2563 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2562 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2556 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2545 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2559 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2554 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2566

แหล่งที่มา

WikiPedia: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2556 http://www.theaustralian.com.au/news/breaking-news... http://www.abc.net.au/news/2013-10-07/an-typhoon-f... http://www.chinadaily.com.cn/cndy/2013-08/23/conte... http://weather.news.sina.com.cn/news/2013/0719/100... http://tcdata.typhoon.gov.cn/en/ http://tcrr.typhoon.gov.cn/EN/article/downloadArti... http://www.china.org.cn/china/2013-06/22/content_2... http://news.163.com/13/0719/21/9465P9A700014JB5.ht... http://thoughtleadership.aonbenfield.com/Documents... http://thoughtleadership.aonbenfield.com/Documents...